ชมรมครูวิชาชีพช่างไฟฟ้า
Skip รายวิชาที่มีอยู่

รายวิชาที่มีอยู่

ศึกษาเกี่ยวกับโมล สูตรและสมการเคมี ปฎิกิริยาเคมี สารละลาย กรด เบส เกลือ หน่วยและการวัด เวกเตอร์ แรง แรงในต่างระนาบ สมการเคลื่อนที่ โมเมนตัมเชิงเส้น สมบัติของคลื่น สนามไฟฟ้า แรงระหว่างประจุไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แสง เสียง พลังงานนิวเคลียร์

          ศึกษาเกี่ยวกับระบบแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส การต่อโหลดแบบสมดุลและไม่สมดุลในระบบ 3 เฟส การแก้เพาเวอร์แฟกเตอร์ การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรง และกระแสสลับด้วยกฎหรือทฤษฎีต่าง ๆ ทฤษฎีการส่งผ่านกำลังไฟฟ้าสูงสุด

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับระบบเลขฐานต่าง ๆ รหัสตัวเลข Logic Function ตารางความจริง และสัญลักษณ์พีชคณิตบูลีน วงจร Combination วงจรพัลส์ และวงจร Sequential 

          ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับระบบเลขฐานต่างๆ  ลอจิกเกต โครงสร้างของวงจรรวมประเภท TTL และ CMOS  คณิตศาสตร์ของ Boolean และสมการ Logic De Morgan’s Theorem การวิเคราะห์วงจรคอมมิเนชั่น การลดตัวแปรในฟังก์ชั่น วงจรคอมมิเนชั่น วงจรมัลติเพล็กซ์ ดีมัลติเพล็กซ์ ดีโค้ดเดอร์ เอ็นโค้ดเดอร์ คอมพาราเตอร์  วงจรโมโนสเตเบิ้ลและสัญญาณนาฬิกา ฟลิปฟลอป วงจรนับ และชิฟรีจิสเตอร์แบบต่าง ๆ วงจรพื้นฐาน A/D และ D/A Converter และการนำไปใช้งาน โครงสร้างและการใช้งานหน่วยความจำเป็นแบบต่าง ๆ ด้วยของจริงและ/หรือการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์

 ศึกษาเกี่ยวกับกฎและมาตรฐานที่ใช้ในงานติดตั้งทางไฟฟ้า ระบบป้องกันฟ้าผ่า ระบบการต่อลงดิน ระบบการติดตั้งสัญญาณเตือนภัย การติดตั้งไฟฟ้าในพื้นที่อันตราย

       คำอธิบายรายวิชา    

      ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้าง ส่วนประกอบของโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์        คำสั่งการป้อนข้อมูล วงจรการใช้งานควบคุมมอเตอร์และอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ วงจรควบคุมระบบ    นิวเมติกส์ การแก้ไขและปรับปรุงโปรแกรมป้อนข้อมูล

 

                ศึกษาและปฏิบัติหลักการของเครื่องทำความเย็น การถ่ายเทความร้อน ชนิดของความร้อน  ความดัน ส่วนประกอบและหลักการทำงานของเครื่องทำความเย็นระบบอัดไอ สารทำความเย็น  น้ำมันหล่อลื่น งานท่อ งานเชื่อมประสานท่อ ต่อวงจรไฟฟ้า วงจรทางกล การทำสุญญากาศระบบ การบรรจุสารทำความเย็นในเครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการทำงาน  โครงสร้าง  และส่วนประกอบของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ  การเกิดรูปคลื่นไซน์     สมการแรงเคลื่อนไฟฟ้า    ความสัมพันธ์ของความเร็วรอบ      ขั้วแม่เหล็กและความถี่   คุณลักษณะของเครื่องกำเนิด   การขนานและการบำรุงรักษาเครื่องกำเนิด   การถอดประกอบ  พัน  และทดสอบการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ

ศึกษาและปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเขียนรูปสัญลักษณ์ของอุปกรณ์งานช่างไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรฐานสากล การเขียนแบบและอ่านแบบบล็อกไดอะแกรม (Block Diagram) สกีเมติกไดอะแกรม(Schematic Circuited Diagram) ซิงเกิลไลน์ไดอะแกรม (Single line Diagram) วายริงไดอะแกรม (Wiring Diagram) พิกทอเรียลไดอะแกรม (Pictorial Diagram) ผังงาน (Flow Chart) การเขียนแบบการเดินสายไฟฟ้าระบบแสงสว่าง ระบบไฟฟ้ากำลัง ระบบสายโทรศัพท์ ระบบภาพและระบบเสียง ภายในอาคารที่พักอาศัยและอาคารขนาดใหญ่ แบบระบบงานควบคุมเครื่องจักรกลทางไฟฟ้า แบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทั้งที่ใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน อุปกรณ์เครื่องสื่อสารและโทรคมนาคม อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรมอุปกรณ์ดิจิตอลและคอมพิวเตอร์ ตลอดจนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ การออกแบบและเขียนแบบงานวงจรพิมพ์ (Printed Circuit) ขั้นพื้นฐาน การเก็บบำรุงรักษาแบบและวัสดุอุปกรณ์การเขียนแบบ

ศึกษาทฤษฎีแม่เหล็ก  วงจรแม่เหล็ก  หลักการเหนี่ยวนำแม่เหล็ก  โครงสร้าง  ส่วนประกอบ   วงจรขดลวดอาร์เมเจอร์ของเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง  หลักการทำงาน  ชนิดการเกิดแรงดันไฟฟ้าในเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง  สาเหตุที่เครื่องกำเนิดไม่เกิดแรงดัน  คอมมิวเตชั่น  อาร์เมเจอร์รีแอคชั่น  การคำนวณหาแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำ  ประสิทธิภาพ  คุณลักษณะ  การนำไปใช้งานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง  หลักการทำงาน  ชนิดของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง  อาร์เมเจอร์รีแอคชั่น  คุณลักษณะและการนำไปใช้งานของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง  การกลับทิศทางหมุน  การเริ่มเดิน  การบำรุงรักษาเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง

        ศึกษาและปฏิบัติงานเกี่ยวกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง  แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า  กำลังและพลังงานไฟฟ้า  การอ่านค่าตัวต้านทาน  การต่อวงจรตัวต้านทานและเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม  แบบขนาน  และแบบผสม  การคำนวณหาค่าความต้านทาน  กระแสไฟฟ้า  แรงดันไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า โดยใช้กฎของโอห์ม  วงจรแบ่งแรงดันและกระแสไฟฟ้า  วงจรบริดจ์  กฎของเคอร์ชอฟฟ์  ทฤษฎีของเทวินินและนอร์ตัน  โนดโวลเตจ  เมชเคอร์เรน  ทฤษฎีการวางซ้อน  การส่งถ่ายกำลังไฟฟ้าสูงสุดในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง  การประกอบวงจรและวัดหาความสัมพันธ์ของแรงดันไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้าและความต้านทานตามทฤษฎีวงจรไฟฟ้ากระแสตรง

คำอธิบายรายวิชา

                      ศึกษาคำสั่งพื้นฐานของโปรแกรมเขียนแบบทางไฟฟ้า เขียนสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า เขียนแบบระบบควบคุมทางไฟฟ้า เขียนแบบงานติดตั้งระบบไฟฟ้า และเขียนแบบงานทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับงานด้านไฟฟ้า การพล็อตแบบลงกระดาษให้ขนาดถูกต้องตามสเกลที่กำหนด

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทำงานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์เบื้องต้น ชนิด สัญลักษณ์ โครงสร้าง การทำงานและการทดสอบอุปกรณ์นิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ การอ่าน การเขียนวงจร และต่อวงจรควบคุมทิศทาง วงจรปรับความเร็ว วงจรเรียงลำดับ วงจรหน่วงเวลา วงจรควบคุมด้วยมือ (Manual) และวงจรควบคุมโดยอัตโนมัติ (Automatic) ของระบบนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์เบื้องต้น

คำอธิบายรายวิชา

          ศึกษาและปฏิบัติองค์ประกอบของวงจร กฎของเคอร์ชอฟฟ์และทิศทางอ้างอิงแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟของวงจรข่าย วงจรแบบตัวต้านทาน การวิเคราะห์แบบปมและเมช ทฤษฎีของเทวินินและนอร์ตัน คลื่นแบบไซน์ การแทนด้วยเฟสเซอร์ อิมพีแดนซ์และแอตมิตแตนซ์ การวิเคราะห์ในสถานะอยู่ตัวต่อคลื่นแบบไซน์กำลังไฟฟ้า ผลตอบสนองเชิงความถี่ วงจรไฟฟ้าสามเฟส ระบบวงจรและกำลังไฟฟ้าสามเฟส การปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า

    ศึกษาเกี่ยวกับกฎและมาตรฐานที่ใช้ในงานติดตั้งทางไฟฟ้า ระบบป้องกันฟ้าผ่า ระบบการต่อลงดิน ระบบการติดตั้งสัญญาณเตือนภัย การติดตั้งไฟฟ้าในพื้นที่อันตราย

       ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นของระบบนิวแมติกและไฮดรอลิก  ชนิด สัญลักษณ์  การใช้งาน  อุปกรณ์ และการเขียนแบบวงจรนิวแมติกและไฮดรอลิก  งานต่อวงจรบังคับทิศทาง  การปรับความเร็ว  แรงดัน  และวงจรควบคุมอื่นๆ

 

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นของระบบนิวเมติกและไฮดรอลิกส์ ชนิดสัญลักษณ์ ลักษณะ การใช้งาน อุปกรณ์และการเขียนแบบวงจร นิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์   งานต่อวงจรบังคับทิศทาง การปรับความเร็ว แรงดันและวงจรควบคุมอื่น ๆ

         ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ การเขียนคำสั่งควบคุมการทำงานของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ หลักการทำงานของเซนเซอร์ที่ใช้วัดและตรวจจับความเร็ว ความดัน อุณหภูมิ อัตราการไหล ระดับ น้ำหนัก แสง พร็อกซิมิตี้สวิตซ์ อุปกรณ์ควบคุม ตัวตั้งเวลา ตัวนับ ลิมิตสวิตซ์ ฯลฯ การนำเอาโปรแกรมคอนโทรลเลอร์และคอมพิวเตอร์ มาประยุกต์ใช้ร่วมกับเซนเซอร์และอุปกรณ์ควบคุมแบบต่างๆ        

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในงานติดตั้งท่อร้อยสาย รางเดินสาย สวิตช์ตัดตอน เซอร์กิตเบรกเกอร์ อุปกรณ์ประกอบตู้ควบคุมไฟฟ้า หาขนาดตัวนำ ขนาดบัสบาร์  การติดตั้งบัสบาร์ และอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ ในตู้ควบคุมและแผงจ่ายไฟ ติดตั้งระบบสายดิน ตรวจซ่อม แก้ไขบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า  ในอาคารและในโรงงาน

ศึกษา และปฏิบัติการออกแบบและติดตั้งระบบนิวส์แมติกส์หลักการทำงานเบื้องต้นของ ระบบนิวแมติกส์อุปกรณ์ในระบบนิวแมติกส์ เช่น ปั๊มลมวาล์ว อุปกรณ์ทำงานรวมทั้งระบบสุญญากาศ ฯลฯการเขียนผังวงจรนิวแมติกส์และการแสดงการเคลื่อนที่การออกแบบและเขียนวงจร นิวแมติกส์แบบทำงานต่อเนื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าและโซลินอยด์วาล์ว การออกแบบและเขียนวงจรนิวแมติกส์ควบคุมการทำงานด้วยรีเลย์ไฟฟ้าและโปรแกรมเม เบิ้ลคอนโทรลเลอร์(พีแอลซี) การบำรุงรักษาและการแก้ปัญหาของระบบนิวแมติก

ศึกษา และปฏิบัติการออกแบบและติดตั้งระบบไฮดรอลิกส์ หลักการทำงานของระบบไฮดรอลิกส์อุปกรณ์ในระบบไฮดรอลิกส์ เช่น น้ำมันไฮดรอลิก ชุดต้นกำลัง วาล์ว และอุปกรณ์ทำงาน ฯลฯ การเขียนผังวงจรไฮดรอลิก  การ ออกแบบและเขียนวงจรไฮดรอลิกส์ควบคุมด้วยรีเลย์ไฟฟ้าและโปรแกรมเมเบิล คอนโทรลเลอร์(พีแอลซี) การบำรุงรักษาและแก้ไขปัญหาของระบบไฮดรอลิกส์

ศึกษาและปฏิบัติองค์ประกอบของวงจร  กฎของเคอร์ชอฟพ์  และทิศทางอ้างอิงแนวคิดเบื้องต้น เกี่ยวกับกราฟของวงจรข่าย  วงจรแบบตัวต้านทาน  การวิเคราะห์แบบปมและเมช  ทฤษฎีของเทวินินและนอร์ตัน  คลื่นแบบไซน์  การแทนด้วยเพสเซอร์  อิมพีแดนซ์และแอดมิตแตนซ์  การวิเคราะห์ในสถานะอยู่ตัวต่อคลื่นแบบไซน์กำลังไฟฟ้า  ผลตอบสนองเชิงความถี่  วงจรไฟฟ้าสามเฟส  ระบบวงจรและกำลังไฟฟ้าสามเฟสการปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า

ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบ    และติดตั้งระบบนิวแมติกส์  หลักการทำงานเบื้องต้นของระบบนิวแมติกส์    อุปกรณ์ในระบบนิวแมติกส์  เช่น  ปั๊มลม   วาล์ว   อุปกรณ์ทำงานรวมทั้งระบบสุญญากาศ ฯลฯ    การเขียนผังวงจรนิวแมติกส์และแสดงการเคลื่อนที่   การออกแบบและเขียนวงจรนิวแมติกส์แบบทำงานต่อเนื่อง    อุปกรณ์ไฟฟ้า และโซลินอยด์วาล์ว    การออกแบบและเขียนวงจรนิวแมติกส์ควบคุมการทำงานด้วยรีเลย์ไฟฟ้า  และโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ (พีแอลซี)  การบำรุงรักษา  และแก้ไขปัญหาของระบบนิวแมติกส์
ศึกษาและปฏิบัติการออกแบบ    และติดตั้งระบบไฮดรอลิกส์ หลักการทำงานเบื้องต้นของระบบไฮดรอลิกส์    อุปกรณ์ในระบบไฮดรอลิกส์  เช่น  น้ำมันไฮดรอลิกส์   ชุดต้นกำลัง   วาล์ว   อุปกรณ์ทำงาน ฯลฯ    การเขียนผังวงจรนิวแมติกส์และแสดงการเคลื่อนที่   การออกแบบและเขียนวงจรไฮดรอลิกส์  การออกแบบและเขียนวงจรนิวแมติกส์ควบคุมการทำงานด้วยรีเลย์ไฟฟ้า  และโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ (พีแอลซี)  การบำรุงรักษา  และแก้ไขปัญหาของระบบไฮดรอลิกส์

ศึกษาและปฏิบัติงานเกี่ยวกับหลักการติดตั้งไฟฟ้าภายในอาคาร
เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการเดินสายในอาคาร ชนิดและมาตรฐานของสายไฟฟ้า
ต่อสาย การเดินสายไฟในอาคารด้วยเข็มขัดรัดสาย ลูกถ้วยและอุปกรณ์จับยึดสายอื่นๆติดตั้งอุปกรณ์ตลอดจนการควบคุมวงจร
การตรวจสอบและแก้ไขวงจรเบื้องต้น

จุดมุงหมายรายวิชา   

1.  เพื่อให้มีความเข้าใจในหลักการเบื้องต้นของระบบนิวเมติกและไฮดรอลิกส์   

2. เพื่อให้สามารถอ่านและเขียนวงจร ต่อวงจรควบคุมการทำงานระบบนิวเมติกและไฮดรอลิกส์   

3. เพื่อให้มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความประณีต เรียบร้อย ขยันอดทน

  คำอธิบายรายวิชา    

        ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นของระบบนิวเมติกและไฮดรอลิกส์ ชนิด    สัญลักษณ์  ลักษณะ  การใช้งาน      อุปกรณ์และการเขียนแบบวงจร นิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์   งานต่อวงจรบังคับทิศทาง การปรับความเร็ว  แรงดันและวงจรควบคุมอื่น ๆ

จุดประสงค์รายวิชา

             1.  เพื่อให้เข้าใจระบบส่งจ่ายไฟฟ้าโหลดโปรดักชั่น  การทำงานของโรงจักรไฟฟ้า  และเศรษฐศาสตร์ในการผลิตกระแสไฟฟ้า

             2.  เพื่อให้วิเคราะห์ข้อดี ข้อเสีย  ของโรงจักรไฟฟ้า

             3.  เพื่อให้มีกิจนิสัยในการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม

 มาตรฐานรายวิชา

             1.  เข้าใจระบบส่งจ่ายไฟฟ้าโหลดโปรดักชั่น

             2.  เปรียบเทียบสมรรถนะของการผลิตไฟฟ้าระบบต่างๆ

             3.  วิเคราะห์หลักเศรษฐศาสตร์  ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า

 คำอธิบายรายวิชา

             ศึกษาระบบส่งและจ่ายไฟฟ้า  โหลดโปรดักชั่น (Load Production)  การทำงานของโรงจักรไฟฟ้า  ข้อดีข้อเสียของโรงจักไฟฟ้า  และเศรษฐศาสตร์ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า

ศึกษาทฤษฏีแม่เหล็ก วงจรแม่เหล็ก หลักการเหนี่ยวนำแม่เหล็ก โครงสร้าง ส่วนประกอบ ขดลวดอาร์เมเจอร์ของเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง หลักการทำงาน ชนิดการเกิดแรงดันไฟฟ้าในเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง สาเหตุที่เครื่องกำเนิดไม่เกิดแรงดัน คอมมิวเตชั่น อาร์เมเจอร์รีแอคชั่น การคำควณค่าแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำ ประสิทธิภาพ คุณลักษณะการนำไปใช้ของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง หลักการทำงาน ชนิดของมอเตอร์ อาร์เมเจอร์รีแอคชั่น คุณลักษณะการนำไปใช้ของมอร์เตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง การกลับทิศทางการหมุน การเริ่มเดิน การบำรุงรักษาเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง

       ศึกษาและปฏิบัติการขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า โมเมนต์ของการขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า ชนิดเบรกด้วยไฟฟ้า ความสัมพันธ์ของพลังงานในระหว่างการเริ่มเดินและการเบรก การคำนวณการเคลื่อนที่ของเครื่องจักรกลไฟฟ้า โดยใช้วิธีการวิเคราะห์และทางกราฟ การคำนวณพิกัดของมอเตอร์เครื่องจักรกลลากจูงที่สำคัญ วงจรไฟฟ้า และการควบคุมเครื่องจักรกลลากจูง การคำนวณแบบง่าย การประยุกต์ทางอุตสาหกรรมของมอเตอร์ไฟฟ้า

คำอธิบายรายวิชา             

            ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้าง ส่วนประกอบของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ คำสั่งการป้อนข้อมูล  วงจรการใช้งานควบคุมมอเตอร์และอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ  วงจรควบคุมระบบนิวแมติกส์    การแก้ไขและปรับปรุงโปรแกรม

คำอธิบายรายวิชา

                ศึกษาและปฏิบัติ เกี่ยวกับ ระบบเลขฐานต่างๆ รหัสตัวเลข Logic function ตารางความจริงและสัญลักษณ์พีชคณิตบูลีน วงจร Combination วงจรพัลส์ และวงจร Sequential

                 ศึกษาและปฏิบัติหลักการทำงานของเครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ การถ่ายเทของความร้อน ชนิดของความร้อน-ความดัน ส่วนประกอบและหลักการทำงานของระบบการทำความเย็นแบบอัดไอ สารทำความเย็น น้ำมันหล่อลื่นงานท่อ งานเชื่อมประสานท่อ ต่อวงจรไฟฟ้า วงจรทางกล การทำสุญญากาศ         การบรรจุสารทำความเย็น แก้ไขวงจรทางกลและทางไฟฟ้า เครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ

จุดมุงหมายรายวิชา   

1.  เพื่อให้มีความเข้าใจในหลักการเบื้องต้นของระบบนิวเมติกและไฮดรอลิกส์   

2. เพื่อให้สามารถอ่านและเขียนวงจร ต่อวงจรควบคุมการทำงานระบบนิวเมติกและไฮดรอลิกส์   

3. เพื่อให้มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความประณีต เรียบร้อย ขยันอดทน

  คำอธิบายรายวิชา    

        ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นของระบบนิวเมติกและไฮดรอลิกส์ ชนิด    สัญลักษณ์  ลักษณะ  การใช้งาน      อุปกรณ์และการเขียนแบบวงจร นิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์   งานต่อวงจรบังคับทิศทาง การปรับความเร็ว  แรงดันและวงจรควบคุมอื่น ๆ

ศึกษาและปฏิบัติโครงสร้างและหลักการทำงานของไดโอด  ทรานซิสเตอร์  เอส ซี อาร์     ไดแอค ไตรแอค ยู.เจ.ที. เฟต มอสเฟต อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทางแสง วงจรเรียงกระแสด้วยไดโอดแบบต่างๆ วงจรคงค่าแรงดันแบบต่างๆ วงจรการใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลังเบื้องต้น วงจรกำเนิดสัญญาณพัลส์ด้วยทรานซิสเตอร์

          ศึกษาและปฏิบัติ หลักการทำงาน วิธีการใช้โวลท์มิเตอร์แอมมิเตอร์ โอห์มมิเตอร์ วัตต์มิเตอร์ กิโลวัตต์อาร์วมิเตอร์ ออสซิลโลสโคป และเครื่องวัดไฟฟ้าชนิดอื่น ๆ ทั้งกระแสตรงและกระแสสลับ ค่าความคลาดเคลื่อนและ การบำรุงรักษา

ศึกษาและปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานควบคุมมอเตอร์สัญลักษณ์ตามมาตรฐาน IEC DIN ANSI การเลือกขนาดสาย อุปกรณ์ป้องกัน คอนแทกเตอร์ หลักการเริ่มเดินและควบคุมความเร็ว มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส การต่อวงจรควบคุม การเริ่มเดิน การควบคุมความเร็ว การควบคุมแบบเรียงลำดับ การกลับทิศทางการหมุนด้วยวิธ๊ต่างๆ และการลดกระแสขณะเริ่มเดิน

           ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการตรวจสอบหาสาเหตุข้อบกพร่อง การซ่อมบำรุงรักษาอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องใช้สำนักงาน ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรเครื่องกลไฟฟ้า และงานบริการไฟฟ้าอื่นๆ

คำอธิบายรายวิชา
          ศึกษาคำสั่งพื้นฐานของโปรแกรมเขียนแบบทางไฟฟ้า เขียนแบบสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า เขียนแบบระบบควบคุมทางไฟฟ้า เขียนแบบงานติดตั้งระบบไฟฟ้า และเขียนแบบงานทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านไฟฟ้า การพล็อตแบบลงกระดาษให้ขนาดถูกต้องตามสเกลที่กำหนด

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับกฎของโอห์ม กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า วงจรความต้านทานแบบต่างๆ วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้า การแปลงวงจรความต้านทานเดลตา-สตาร์ ดีเทอร์มิแนนท์  เซลล์ไฟฟ้า กฏของเคอร์ชอฟฟ์ วงจรบริดจ์ เมชเคอร์เรนต์

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ  ระบบความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์  แหล่งกำเนิดไฟฟ้า  กฎของโอห์ม พลังงานไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง การควบคุมมอเตอร์เบื้องต้น อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้า และการต่อสายดิน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ R L C หม้อแปลงไฟฟ้า รีเลย์ ไมโครโฟน ลำโพง อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ เทคนิคการบัดกรี การใช้มัลติมิเตอร์ออสซิลโลสโคป เครื่องกำเนิดสัญญาณ การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นบนแผ่นวงจรพิมพ์ ประกอบชุดคิท เกี่ยวกับเครื่องหรี่ไฟ แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงชนิดคงที่หรือปรับค่าได้สวิตซ์ทำงานด้วยแสง

คำอธิบายรายวิชา

    ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทำงานนิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์เบื้องต้น ชนิด สัญลักษณ์ โครงสร้างการทำงานและการทดสอบ       อุปกรณ์นิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์ การอ่าน การเขียนวงจรและต่อวงจรควบคุมทิศทาง วงจรปรับความเร็ว วงจรเรียงลำดับ วงจรหน่วงเวลา วงจรควบคุมด้วยมือ (Manual) และวงจรควบคุมโดยอัตโนมัติ (Automatic) ของระบบนิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์เบื้องต้น

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้าง ส่วนประกอบของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์คำสั่ง การป้อนข้อมูล วงจรการใช้งานควบคุมมอเตอร์และอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ วงจรควบคุมระบบนิวเมติกส์ การแก้ไขและปรับปรุงโปรแกรม

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ เทคโนโลยีชีวภาพ และการนำไปใช้ประโยชน์ ปฏิกิริยาเคมี ปิโตรเลียม และผลิตภัณฑ์ พอลิเมอร์ สารชีวโมเลกุล คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า พลังงานนิวเคลียร์

ศึกษาเกี่ยวกับสัญลักษณ์ทางไฟฟ้ากำลังและแผนภาพเส้นเดี่ยว  ข้อกำหนดมาตรฐานเกี่ยวกับความปลอดภัยในการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า  แหล่งจ่ายและระบบจำหน่ายไฟฟ้ากำลัง  การต่อลงดินสำหรับระบบและสำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้า  การเลือกขนาดสายไฟ และท่อร้อยสายอุปกรณ์ป้องกัน และการออกแบบให้อุปกรณ์ป้องกันทำงานเป็นลำดับขั้น  แหล่งจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉิน  ระบบป้องกันฟ้าผ่าสำหรับอาคาร  การชดเชยกำลังไฟฟ้ารีแอคตีฟ  การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าในอาคารพาณิชย์  ในโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารที่อยู่อาศัย

       ศึกษาปฏิบัติเกี่ยวกับระบบเลขฐานและรหัส ฟังก์ชันลอจิก ตารางความจริง สัญลักษณ์ลอจิกเกต พีชคณิตบูลลีน แผนผังคาโนห์ คุณลักษณะของลอจิกเกตจากคู่มือของผู้ผลิตและวงจรลอจิกต่าง ๆ ต่อและทดสอบวงจรลอจิกวงจรคอมไบเนชัน(Combination circuit) วงจรฟลิปฟลอป(Flip Flop) วงจรนับและแสดงผลเบื้องต้น

             ศึกษาและปฏิบัติองค์ประกอบของวงจร กฎของเคอร์ชอฟพ์ และทิศทางอ้างอิงแนวคิดเบื้องต้น เกี่ยวกับกราฟของวงจรข่าย วงจรแบบตัวต้านทาน การวิเคราะห์แบบปมและเมช ทฤษฎีของเทวินินและนอร์ตัน คลื่นแบบไซน์ การแทนด้วยเพสเซอร์ อิมพีแดนซ์และแอดมิตแตนซ์ การวิเคราะห์ในสถานะอยู่ตัวต่อคลื่นแบบไซน์กำลังไฟฟ้า ผลตอบสนองเชิงความถี่ วงจรไฟฟ้าสามเฟส ระบบวงจรและกำลังไฟฟ้าสามเฟส การปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หน่วยและการวัด  แรงและการเคลื่อนที่ ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน นาโนเทคโนโลยี โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ พันธะเคมี สารและการเปลี่ยนแปลง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศ

ศึกษาทฤษฎีแม่เหล็ก วงจรแม่เหล็ก หลักการเหนี่ยวนำแม่เหล็กโครงสร้างส่วนประกอบวงจรขดลวดอาร์เมเจอร์ของเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง หลักการทำงาน ชนิดการเกิดแรงดันไฟฟ้าในเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงสาเหตุที่เครื่องกำเนิดไม่เกิดแรงดัน คอมมิวเตชั่น อาร์เมเจอร์รีแอกชัน การคำนวณหาค่าแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำ ประสิทธิภาพ คุณลักษณะ การนำไปใช้งานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง หลักการทำงาน ชนิดของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง อาร์เมเจอร์รีแอกชัน คุณลักษณะและการนำไปใช้งานของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง การกลับทิศทางการหมุน การเริ่มเดิน การบำรุงรักษาเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง

ศึกษาหลักการเครื่องทำความเย็น วัฎจักรเครื่องทำความเย็น วงจรทางกลและวงไฟฟ้า ความร้อน ความดันและอุณหภูมิ การปฎิบัติงานท่อการทำสูญญากาศ ศึกษาสารทำความเย็นและน้ำมันหล่อลื่น การบำรุงรักษาเครื่องทำความเย็นทั้งในครัวเรือนและเชิงพาณิชย์ได้

 

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้าง        ส่วนประกอบของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์คำสั่ง การป้อนข้อมูล วงจรการใช้งานควบคุมมอเตอร์และอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ วงจรควบคุมระบบนิวเมติกส์ การแก้ไขและปรับปรุงโปรแกรม

                    ศึกษาเกี่ยวกับกฎและมาตรฐานที่ใช้ในงานติดตั้งทางไฟฟ้า ระบบป้องกันฟ้าผ่า ระบบการต่อลงดิน ระบบการติดตั้งสัญญาณเตือนภัย การติดตั้งไฟฟ้าในพื้นที่อันตราย


Skip CalendarSkip Online usersSkip จำนวนผู้เข้าใช้ระบบ